ดูเพิ่ม: เล̂า, เลา, และ เล้า

ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์เล่า
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงlâo
ราชบัณฑิตยสภาlao
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/law˥˩/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงเหล้า

รากศัพท์ 1

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับอีสาน เล่า, ลาว ເລົ່າ (เล็่า), คำเมือง ᩃᩮᩢ᩵ᩣ (เลั่า), เขิน ᩃᩮᩢ᩵ᩣ (เลั่า), ไทลื้อ ᦟᧁᧈ (เล่า), ไทใหญ่ လဝ်ႈ (ล้ว, ทูล), ไทใต้คง ᥘᥝ (เลา), อาหม 𑜎𑜧 (ลว์)

คำกริยา

แก้ไข

เล่า (คำอาการนาม การเล่า)

  1. (สกรรม) พูดหรือบอกเรื่องราวให้ผู้อื่นฟัง
    เล่าเรื่อง

คำแปลภาษาอื่น

แก้ไข

รากศัพท์ 2

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับจ้วงแบบจั่วเจียง laeuh (เล่า-ใช้ไปหลายรอบแล้ว เก่าแล้ว ซ้ำแล้ว)

คำกริยาวิเศษณ์

แก้ไข

เล่า

  1. ทำแล้วทำอีกอยู่นั่นเอง
    พูดแล้วพูดเล่า
    กินแล้วกินเล่า
    ทำแล้ว ๆ เล่า ๆ ไม่รู้จักเสร็จ

คำอนุภาค

แก้ไข

เล่า

  1. คำใช้ประกอบข้อความข้างหน้าเพื่อยืนยันให้มีน้ำหนักขึ้น, ล่ะ ก็ว่า
    มิน่าเล่า
    กินไหมเล่า
    ซนอย่างนี้นี่เล่า ถึงได้ถูกตี

รากศัพท์ 3

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

เล่า

  1. รูปที่เลิกใช้ของ เหล้า

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

เล่า (คำอาการนาม ก๋ารเล่า หรือ ก๋านเล่า)

  1. (สกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᩃᩮᩢ᩵ᩣ (เลั่า)

ภาษาอีสาน

แก้ไข

คำกริยาวิเศษณ์

แก้ไข

เล่า

  1. ทำแล้วทำอีก
  NODES