กลุ่ม 20
กลุ่ม 20 (อังกฤษ: G20 / Group of Twenty) ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2542 เป็นกลุ่มรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและผู้บริหารธนาคารกลางจากประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจขนาดใหญ่ 19 ประเทศ รวมกับสหภาพยุโรปและสหภาพแอฟริกา
ประเทศสมาชิกในกลุ่ม 20
ประเทศที่เป็นตัวแทนผ่านสมาชิกภาพของสหภาพยุโรป
ประเทศที่เป็นตัวแทนผ่านสมาชิกภาพของสหภาพแอฟริกา
ประเทศที่ได้รับเชิญอย่างถาวร | |
ก่อตั้ง | 26 กันยายน พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2551 (การประชุมสุดยอดประมุขแห่งรัฐ/หัวหน้ารัฐบาล) |
---|---|
วัตถุประสงค์ | การรวมกลุ่มระบบเศรษฐกิจที่สำคัญเพื่อหารือเกี่ยวกับประเด็นสำคัญในเศรษฐกิจโลก[1] |
สมาชิก | |
ประธาน | นเรนทระ โมที, นายกรัฐมนตรีอินเดีย |
เว็บไซต์ | https://g20.org/ |
ประเทศทั้ง 19 ประเทศ ประกอบด้วยกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำ 8 ประเทศ (กลุ่ม 8) คือ อังกฤษ แคนาดา ฝรั่งเศส อิตาลี ญี่ปุ่น เยอรมนี รัสเซีย และสหรัฐ และกลุ่มประเทศระบบเศรษฐกิจเกิดใหม่ขนาดใหญ่อีก 11 ประเทศ ซึ่งประกอบด้วย อาร์เจนตินา ออสเตรเลีย บราซิล จีน อินเดีย อินโดนีเซีย เม็กซิโก ซาอุดีอาระเบีย แอฟริกาใต้ เกาหลีใต้ และตุรกี
ประเทศในกลุ่ม 20 มีขนาดเศรษฐกิจรวมกันเท่ากับร้อยละ 90 ของเศรษฐกิจโลก และมีประชากรรวมกันประมาณ 2 ใน 3 ของโลก
ผู้นำประเทศในกลุ่ม 20
แก้กลุ่ม 7 และสหภาพยุโรป
แก้กลุ่มบริกส์
แก้กลุ่มมิกตา
แก้กลุ่มสหภาพแอฟริกาและอื่น ๆ
แก้การประชุมประจำปี
แก้ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ "FAQ #5: What are the criteria for G-20 membership?" เก็บถาวร 16 กุมภาพันธ์ 2009 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. G20.org. Retrieved 21 February 2013.
- ↑ "The G-20 Leaders Summit on Financial Markets and the World Economy" เก็บถาวร 2016-11-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. G-20 Information Centre. University of Toronto. 2008. Retrieved 3 December 2012.
- ↑ Croft, Adrian. "London's ExCel Centre chosen as venue for G20 summit," เก็บถาวร 2009-04-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Reuters (UK). 6 February 2009. Retrieved 7 April 2011.
- ↑ "Pittsburgh To Host Next G20 Summit". KDKA. 28 May 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 July 2009. สืบค้นเมื่อ 6 August 2009.
- ↑ Canada (25 September 2009). "Canada to host 'transition' summit in 2010". The Globe and Mail. Toronto. สืบค้นเมื่อ 27 June 2010.
- ↑ "The Group of 20: The premier forum for international economic cooperation". CanadaInternational.gc.ca. 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 October 2012. สืบค้นเมื่อ 8 September 2013.
- ↑ "Korea to Host G20 in November," The Korea Times, 25 September 2009. Retrieved 12 November 2010.
- ↑ "French G20 summit to be November 2011 in Cannes". Business Recorder. 12 November 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-05-11. สืบค้นเมื่อ 12 November 2010.
- ↑ "Cannes albergará próxima cumbre del G20 en noviembre de 2011," Agence France Presse. 12 November 2010.
- ↑ "Mexico to host G20 summit in 2012," Xinhua, 28 June 2010.
- ↑ Robinson, Dale. "G20 Commits to Deficit Reduction Time Line". Voice of America. 27 June 2010;
- ↑ "Los Cabos to Host G20 Summit in 2012". PRNewswire.com. Retrieved 3 December 2011.
- ↑ "French G20 LEADERS SUMMIT – FINAL COMMUNIQUÉ". G20-G8. 4 November 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 June 2017. สืบค้นเมื่อ 4 November 2011.
- ↑ 14.0 14.1 14.2 "Cannes Summit Final Declaration," เก็บถาวร 12 มกราคม 2012 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน G-20 Official Website, 4 November 2011.
- ↑ Saint Petersburg to hold G20 Summit of 2013 เก็บถาวร 8 กุมภาพันธ์ 2013 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Voice of Russia
- ↑ "Brisbane set to host G20 conference in 2014" เก็บถาวร 2020-05-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, The Courier-Mail, 11 July 2012.
- ↑ 17.0 17.1 17.2 "G20 Leaders' Communiqué". whitehouse.gov. สืบค้นเมื่อ 16 November 2014 – โดยทาง National Archives.
- ↑ "Erdoğan says he'll lead G-20 Summit this year". Hürriyet Daily News. 16 August 2015. สืบค้นเมื่อ 7 October 2015.
- ↑ "快讯:杭州获得2016年G20峰会举办权". ifeng.com.
- ↑ Niebieskikwiat, Natasha, "Argentina fue elegida sede del G-20 para 2018", Clarin.com, 27 de junio de 2016.
- ↑ Dinatale, Martín, "La Argentina será sede en 2018 de la cumbre de presidentes del G-20" เก็บถาวร 2017-09-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, La Nacion, 29 de junio de 2016.
- ↑ "Government picks Osaka as venue for G-20 summit in 2019: sources". Japan Times. 20 February 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-02-20. สืบค้นเมื่อ 2022-11-15.
- ↑ "Osaka, Osaka Pref. – JapanGov – The Government of Japan". JapanGov – The Government of Japan. สืบค้นเมื่อ 2 October 2018.
- ↑ "Saudi Arabia to host G-20 summit in 2020", Al Arabiya, 8 July 2017.
- ↑ "G20 final day of summit in Hamburg – live updates", Deutsche Welle, 8 July 2017.
- ↑ Chaudhury, Dipanjan Roy (2018-12-03). "Warmth in ties prompts Italy to let India host G20 Summit in 2022". The Economic Times. สืบค้นเมื่อ 2020-05-02.
- ↑ "A Roma il primo G20 italiano". Eastwest (ภาษาอิตาลี). 2020-02-14. สืบค้นเมื่อ 2020-05-02.
- ↑ "Today, President Jokowi plans to review the state of readiness of the G-20 summit site in Bali". 8 October 2021.
- ↑ 29.0 29.1 29.2 "India to host G20 summit in 2023 after Italy, Indonesia; Brazil to hold presidency in 2024". India Today. 22 November 2020.
- ↑ "Presiden Jokowi Tinjau Kesiapan GWK Cultural Park untuk KTT G20". Sekretariat Presiden Republik Indonesia (ภาษาอินโดนีเซีย). 2022-03-25. สืบค้นเมื่อ 2022-03-30.
- ↑ "Brasil vai ser sede da reunião do G20 em 2024". CNN Brazil (ภาษาโปรตุเกส). 22 November 2020.
- ↑ "Give faiths a chance at peace". The Jakarta Post. 2 November 2022.
- ↑ "Brasil vai sediar encontro do G20 em 2024". G1. 31 October 2021.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ กลุ่ม 20