ปัญญา
ปัญญา (บาลี: ปญฺญา, จาก ป- อุปสรรค + ญา ธาตุ (รู้) + -กฺวิ ปัจจัยนามกิตก์) แปลว่า ความรอบรู้, ความรู้ทั่ว หมายถึงความฉลาดเกิดแต่เรียนและคิด[1], อังกฤษ: Wisdom, sapience หรือ sagacity) หมายถึงความสามารถในการคิดและกระทำโดยใช้ความรู้, ประสบการณ์, ความเข้าใจ, สามัญสำนึก และ การเข้าใจทะลุปรุโปร่ง[2] ปัญญามักเกี่ยวข้องกับลักษณะต่าง ๆ เช่น การตัดสินโดยไม่เอนเอียง, ความเห็นอกเห็นใจ, การรู้ตนเองผ่านการทดลอง, การบรรลุอยู่เหนือตน และ การไม่ยึดติด[3] ไปจนถึงกับ คุณธรรม เช่น จริยธรรมและการทำเพื่อผู้อื่น[4][5]
มีคำนิยามถึงปัญญาอยู่หลายแบบ[3][6][4] บ้างมีการพยายามศึกษาลักษณะเฉพาะของปัญญาที่ต่างจากสิ่งอื่น[7][8]
อ้างอิง
แก้- ↑ พจนานกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. , หน้า 733
- ↑ "Wisdom". Dictionary.com.
- ↑ 3.0 3.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ:0
- ↑ 4.0 4.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ:2
- ↑ Walsh R. (June 2015). "What Is wisdom? Cross-cultural and cross-Disciplinary Syntheses". Review of General Psychology. 19 (3): 178–293. doi:10.1037/gpr0000045. S2CID 146383832.
- ↑ Trowbridge R (May 2011). "Waiting for Sophia: 30 years of Conceptualizing Wisdom in Empirical Psychology". Research in Human Development. 8 (2): 111–117. doi:10.1080/15427609.2011.568872. S2CID 145371442.
- ↑ Glück J (October 2018). "Measuring Wisdom: Existing Approaches, Continuing Challenges, and New Developments". The Journals of Gerontology. Series B, Psychological Sciences and Social Sciences. 73 (8): 1393–1403. doi:10.1093/geronb/gbx140. PMC 6178965. PMID 29281060.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ:1