พ.ศ. 2537
ปี
พุทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น
- ปีจอ ฉศก จุลศักราช 1356 (วันที่ 16 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2537 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1994 MCMXCIV |
Ab urbe condita | 2747 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1443 ԹՎ ՌՆԽԳ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6744 |
ปฏิทินบาไฮ | 150–151 |
ปฏิทินเบงกอล | 1401 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2944 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 42 Eliz. 2 – 43 Eliz. 2 |
พุทธศักราช | 2538 |
ปฏิทินพม่า | 1356 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7502–7503 |
ปฏิทินจีน | 癸酉年 (ระกาธาตุน้ำ) 4690 หรือ 4630 — ถึง — 甲戌年 (จอธาตุไม้) 4691 หรือ 4631 |
ปฏิทินคอปติก | 1710–1711 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3160 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1986–1987 |
ปฏิทินฮีบรู | 5754–5755 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 2050–2051 |
- ศกสมวัต | 1916–1917 |
- กลียุค | 5095–5096 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11994 |
ปฏิทินอิกโบ | 994–995 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1372–1373 |
ปฏิทินอิสลาม | 1414–1415 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชเฮเซ 6 (平成6年) |
ปฏิทินจูเช | 83 |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4327 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | ROC 83 民國83年 |
เวลายูนิกซ์ | 757382400–788918399 |
ผู้นำประเทศไทย
แก้- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559)
- นายกรัฐมนตรี: นายชวน หลีกภัย (23 กันยายน พ.ศ. 2535 – 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2538)
เหตุการณ์
แก้มกราคม-มิถุนายน
แก้- 4 มกราคม - ดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พุ่งถึงจุดสูงสุดเป็นประวัติการณ์ที่ระดับ 1,753.73 จุด
- 5 มกราคม - บิ๊กซี เปิดให้บริการสาขาแห่งแรกบนถนนแจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร
- 5 เมษายน - Kurt Cobain เสียชีวิต
- 14 เมษายน – ทีมฟุตบอลทีมชาติไนจีเรียชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติแอฟริกา ครั้งที่ 19 ณ กรุงตูนิส ประเทศตูนิเซีย
- 24 กุมภาพันธ์ - องค์กรกะฉิ่นอิสระลงนามในข้อตกลงหยุดยิงกับรัฐบาลทหารพม่า
- 25 กุมภาพันธ์ - สมาชิกพรรคฝ่ายขวาชาวยิว กราดปืนกลเข้าใส่ชาวมุสลิมในเวสต์แบงก์ มีผู้เสียชีวิต 29 คน
- 21 เมษายน - นักดาราศาสตร์รายงานการค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบแห่งแรก อยู่ในกลุ่มดาวหญิงสาว
- 6 พฤษภาคม - Channel Tunnel อุโมงค์รถไฟฟ้ายาว 50 กิโลเมตร ใต้ช่องแคบอังกฤษและช่องแคบโดเวอร์ ที่เชื่อมระหว่างอังกฤษกับฝรั่งเศส เปิดใช้งานอย่างเป็นทางการ
- 9 พฤษภาคม - เนลสัน แมนเดลา เป็นประธานาธิบดีผิวดำคนแรกของแอฟริกาใต้
- 17 มิถุนายน - โอ.เจ. ซิมป์สัน ถูกไล่ล่าและจับกุมในข้อหาฆาตกรรมนิโคล บราวน์ ซิมป์สัน อดีตภรรยา กับโรนัลด์ โกลด์แมน
กรกฎาคม-ธันวาคม
แก้- 16 กรกฎาคม - ชิ้นส่วนดาวหางชูเมกเกอร์-เลวี 9 พุ่งชนดาวพฤหัสบดี
- 28 กันยายน - เรือข้ามฟากที่ล่องระหว่างกรุงทาลลินน์ ประเทศเอสโตเนีย กับกรุงสต็อกโฮล์ม ประเทศสวีเดน อับปางลง ทำให้มีผู้เสียชีวิต 852 คน เป็นหนึ่งในโศกนาฏกรรมทางน้ำที่ร้ายแรงที่สุดครั้งหนึ่งในทะเลบอลติก
- 28 ตุลาคม - โลตัส (ห้างสรรพสินค้า) เปิดให้บริการสาขาแห่งแรกที่ซีคอนสแควร์ กรุงเทพมหานคร
- 11 ธันวาคม - บอริส เยลซิน บัญชาการให้ทหารรัสเซียเข้าไปในเชชเนีย
- 15 ธันวาคม - เปิดตัวโปรแกรมค้นดูเว็บ เน็ตสเคป นาวิเกเตอร์ 1.0
ไม่ทราบวัน
แก้- ค้นพบ ธาตุดาร์มสตัดเทียม และ เรินต์เกเนียม
วันเกิด
แก้มกราคม
แก้- 6 มกราคม - เจบี นักร้องชาวเกาหลีใต้
- 13 มกราคม - ทอม ลอว์เรนซ์ นักฟุตบอลชาวอังกฤษ
- 18 มกราคม - ฮันเตอร์ ดูฮาน นักแสดงชาวอเมริกัน
กุมภาพันธ์
แก้- 6 กุมภาพันธ์ - ชาร์ลี ฮีตัน นักแสดงชาวอังกฤษ
- 10 กุมภาพันธ์
- ซน นาอึน นักดนตรีชาวเกาหลีใต้
- คัง ซึล-กี ศิลปินชาวเกาหลีใต้
- 16 กุมภาพันธ์ – จามิล่า พันธ์พินิจ
(มิล่า) นักร้องชาวลูกครึ่งไทย-อิตาลี
- 18 กุมภาพันธ์ - เจ-โฮป ศิลปินชาวเกาหลีใต้
- 21 กุมภาพันธ์ - เวนดี้ ซน ศิลปินชาวเกาหลีใต้
- 23 กุมภาพันธ์ –
- พิรพัฒน์ วัฒนเศรษสิริ (เอิร์ท) นักแสดงชาวไทย
- วรันธร เปานิล (อิ๊งค์) นักร้องชาวไทย
- 24 กุมภาพันธ์ - ดอนัลด์ ลัฟ นักฟุตบอลชาวสกอตแลนด์
มีนาคม
แก้- 1 มีนาคม - จัสติน บีเบอร์ นักร้องชาวแคนาดา
- 12 มีนาคม - คริสตินา กริมมี นักร้องชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 10 มิถุนายน พ.ศ. 2559)
- 26 มีนาคม - มายุ วาตานาเบะ นักร้อง นักแสดงชาวญี่ปุ่น
- 28 มีนาคม - แจ็กสัน หวัง แร็ปเปอร์ นักร้อง และนักเต้นชาวฮ่องกง
- 29 มีนาคม - ซอลลี่ ชเว นักร้องและนักแสดงชาวเกาหลีใต้ (ถึงแก่กรรม 14 ตุลาคม พ.ศ. 2562)
เมษายน
แก้- 12 เมษายน
- เซฮุน นักร้องชาวเกาหลีใต้
- ไอริ ซุซุกิ นักร้องชาวญี่ปุ่น
- เซอร์ชา โรนัน นักแสดงชาวอเมริกัน
- 20 เมษายน - เด่นคุณ งามเนตร นักแสดง นักร้อง และนายแบบชาวไทย
- 28 เมษายน - อรัชพร โภคินภากร (ก้อย) นักร้อง นักแสดง และยูทูปเบอร์ชาวไทย
มิถุนายน
แก้- 9 มิถุนายน - มาสุ จรรยางค์ดีกุล นักแสดงชาวไทย
- 14 มิถุนายน - มุน แท-อิล ศิลปินชาวเกาหลีใต้ สมาชิกวง เอ็นซีที,เอ็นซีที 127
- 18 มิถุนายน - จวี จิ้งอี - นักร้องและนักแสดงชาวจีน
- 23 มิถุนายน - วนรัตน์ รัศมีรัตน์ (วอร์) นักร้องและนักแสดงชาวไทย
กรกฎาคม
แก้- 5 กรกฎาคม - เซิน ตุ่ง เอ็มทีพี นักร้องและนักแสดงชาวเวียดนาม
- 15 กรกฎาคม - เมสัน ไดย์ นักแสดงชาวอเมริกัน
สิงหาคม
แก้- 3 สิงหาคม - หลิว ไห่ควาน นักแสดงชาวจีน
- 20 สิงหาคม - กาอึน นักดนตรีชาวเกาหลีใต้
- 30 สิงหาคม - คว็อน โซ-ฮย็อน นักดนตรีชาวเกาหลีใต้
กันยายน
แก้- 9 กันยายน - นพเก้า เดชาพัฒนคุณ (เก้า) นักแสดงและนายแบบชาวไทย
- 12 กันยายน - แรปมอนสเตอร์ นักร้องชาวเกาหลีใต้
- 21 กันยายน
- วรินทร์ลดา ปิยะวิรัทธิ์ นักแสดงชาวไทย
- ฟุมิ นิไคโด นักแสดงชาวญี่ปุ่น
- 22 กันยายน - พัก จิน-ย็อง ศิลปินชาวเกาหลีใต้
ตุลาคม
แก้- 16 ตุลาคม - คิโต อะคาริ นักพากย์หญิงชาวญี่ปุ่น
- 24 ตุลาคม - คริสตัล ช็อง นักดนตรีชาวเกาหลีใต้
พฤศจิกายน
แก้ธันวาคม
แก้วันถึงแก่กรรม
แก้- 12 มกราคม - หลวงปู่บุดดา ถาวโร พระสงฆ์ชาวไทย (เกิด 5 มกราคม พ.ศ. 2437)
- 6 กุมภาพันธ์ - แจ็ก เคอร์บี นักวาดการ์ตูนชาวอเมริกัน (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2460)
- 10 มีนาคม - ตุ้มทอง โชคชนะ ราชาเพลงรำวง (เกิด 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2464)
- 26 มีนาคม - หม่อมเจ้าเพลารถ จิตรพงศ์ (ประสูติ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2457)
- 5 เมษายน - เคิร์ต โคเบน นักร้องชาวอเมริกัน (เกิด 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1967)
- 22 เมษายน - ริชาร์ด นิกสัน อดีตประธานาธิบดีสหรัฐ (เกิด 9 มกราคม พ.ศ. 2456)
- 1 พฤษภาคม - อาอีร์ตง เซนนา นักแข่งรถ (เกิด 21 มีนาคม พ.ศ. 2503)
- 19 พฤษภาคม - แจ็กเกอลีน เคนเนดี โอนาสซิส อดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของสหรัฐ (เกิด 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2472)
- 29 พฤษภาคม - เอริช ฮ็อนเน็คเคอร์ ความเป็นผู้นำของเยอรมนีตะวันออก (เกิด 25 สิงหาคม พ.ศ. 2455)
- 26 กรกฎาคม - สมศักดิ์ เทพานนท์ นักร้องชาวไทย (เกิด 5 มีนาคม พ.ศ. 2467)
- 17 ธันวาคม - หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี พระสงฆ์ชาวไทย (เกิด 26 เมษายน พ.ศ. 2445)
รางวัล
แก้- สาขาเคมี – George A. Olah
- สาขาวรรณกรรม – เค็นซาบูโร โอเอะ
- สาขาสันติภาพ – ยัสเซอร์ อาราฟัต, Shimon Peres, ยิตส์ฮัก ราบิน
- สาขาฟิสิกส์ – Bertram Brockhouse, Clifford Glenwood Shull
- สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ – อัลเฟรด จี. กิลแมน, มาร์ติน รอดเบลล์
- สาขาเศรษฐศาสตร์ – John C. Harsanyi, จอห์น แนช, Reinhard Selten