มาร[1] (อังกฤษ: devil; กรีก: διάβολος หรือ diávolos = 'slanderer' หรือ 'accuser'[2]) เป็นเทวดาใจบาปที่คอยขัดขวางการทำดี[3] และเป็นบุคลาธิษฐานของความชั่วร้าย[4] ในศาสนาอับราฮัมถือว่ามารคือซาตาน โดยเฉพาะศาสนาคริสต์ถือว่ามารเป็นบุคคลแรก ๆ ที่เป็นปฏิปักข์กับพระเป็นเจ้า[5]

ภาพที่พรรณาถึงลักษณะของมารดังที่พบเห็นในโคเด็กซ์ กิกาส
ประติมากรรมปีศาจในพิพิธภัณฑ์ปีศาจในเคานาส, ลิทัวเนีย

ศาสนาพุทธ

แก้

ในศาสนาพุทธเชื่อว่าท้าววสวัตตี คือเทพบุตรมาร[6]ผู้เป็นจอมเทพในสวรรค์ชั้นปรนิมมิตวสวัตดี[7]

ศาสนาคริสต์

แก้

ศาสนาคริสต์เชื่อว่ามารคือหัวหน้าของพวกเทวดาตกสวรรค์ เขามีอำนาจเหนือโลก[8]และอยู่เบื้องหลังการทำบาปต่าง ๆ[9] เช่น เป็นงูที่ล่อลวงอาดัมกับเอวาให้กินผลไม้ต้องห้าม[10] แต่ในการพิพากษาครั้งสุดท้าย มารจะถูกโยนลงไปในบึงไฟแล้วทุกข์ทรมานในนั้นตลอดไป[11]

ศาสนาอิสลาม

แก้

ศาสนาอิสลามเรียกซาตานว่าชัยฏอน

อ้างอิง

แก้
เชิงอรรถ
  1. "Devil". สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. 11 มกราคม 2010. สืบค้นเมื่อ 18 มกราคม 2018.[ลิงก์เสีย]
  2. "devil", Encyclopædia Britannica. 2007. Encyclopædia Britannica Online. 29 June 2007 <http://www.britannica.com/eb/article-9030155>.
  3. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554, หน้า 904
  4. Jeffrey Burton Russell The Devil: Perceptions of Evil from Antiquity to Primitive Christianity Cornell University Press 1987 ISBN 978-0-801-49409-3 page 34
  5. Leeming, David (2005-11-17). The Oxford Companion to World Mythology (ภาษาอังกฤษ). Oxford University Press, USA. ISBN 9780195156690.
  6. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554, หน้า 1,101
  7. พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "สวรรค์ 6". พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม.
  8. 1ยน.5:19[ลิงก์เสีย]
  9. "1ยน.3:8". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-11-21. สืบค้นเมื่อ 2018-01-19.
  10. ปฐก.3[ลิงก์เสีย]
  11. วว.20:10[ลิงก์เสีย]
บรรณานุกรม
  • ราชบัณฑิตยสถานพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556. 1,544 หน้า. ISBN 978-616-7073-80-4
  • พระคริสตธรรมคัมภีร์ ภาคพันธสัญญาเดิมและใหม่ ฉบับมาตรฐาน 2011. กรุงเทพฯ : สมาคมพระคริสตธรรมไทย, 2555. ISBN 978-6-6167218-71-7 ข้อผิดพลาดพารามิเตอร์ใน {{ISBN}}: length
  • The Origin of Satan, by Elaine Pagels (Vintage Books, New York 1995) explores the development, the "demonization" of the character of Satan against the background of the bitter struggle between the early Church and the Synagogue to be the legitimate heir of ancient Hebrew religious tradition. She discusses how Satan becomes a figure that reflects our own hatreds and prejudices, and the struggle between our loving selves and our fearful, combative selves.
  • The Old Enemy: Satan & the Combat Myth, by Neil Forsyth (Princeton, New Jersey, 1987) seeks to show how Satan emerged from ancient mythological traditions and is best understood not as a principle of evil, but as a narrative character in the context of "the Combat Myth". Forsyth tells the Devil's story from the Epic of Gilgamesh through to the writings of St. Augustine.
  • The Devil: Perceptions of Evil from Antiquity to Primitive Christianity, by Jeffrey Burton Russell (Meridian, New York 1977) is "a history of the personification of evil" which, to make things clear, he calls "the Devil". Accessible and engaging, full of photographs illustrating the text, this is the first of a four volume series on the history of the concept of the Devil. The following volumes are, Satan: The Early Christian Tradition, Lucifer: The Devil in the Middle Ages, and Mephistopheles: The Devil in the Modern World.
  • The Devil in Legend and Literature, by Maximilian Rudwin (Open Court, La Salle, Illinois, 1931, 1959) is a compendium of "the secular and sacred adventures of Satan."

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้
  NODES