กัด
(เปลี่ยนทางจาก ปลากัด)
ภาษาไทย
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | กัด | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | gàt |
ราชบัณฑิตยสภา | kat | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kat̚˨˩/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
แก้ไขสืบทอดจากไทดั้งเดิม *katᴰ; ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᨠᩢ᩠ᨯ (กัด), ลาว ກັດ (กัด), ไทลื้อ ᦂᧆ (กัด), ไทดำ ꪀꪰꪒ (กัด), ไทใหญ่ ၵတ်း (กั๊ต);, จ้วง gaet; เทียบมอญ သ္ကိတ် (สฺกิต์, “กัด, งับด้วยปาก”)[1]
คำกริยา
แก้ไขกัด (คำอาการนาม การกัด)
- (สกรรม) เอาฟันกดไว้โดยแรง เพื่อไม่ให้สิ่งที่กดไว้หลุดไป หรือเพื่อให้เข้าไป ให้ทะลุ หรือให้ฉีกขาด
- กัดสำลีไว้ให้แน่น
- สุนัขกัดเข้าไปถึงกระดูก
- หนูกัดผ้าเป็นรู
- (สกรรม) โดยปริยายหมายความว่า ทำให้กร่อนสลายหรือจางไป
- สนิมกัดเหล็ก
- กัดสิวกัดฝ้าออกให้หมด
- (สกรรม) โดยปริยายหมายความว่า ทำให้เปื่อยเป็นแผล
- ปูนกัดปาก
- น้ำกัดเท้า
- (ภาษาปาก, สกรรม) หาเรื่อง
- เขากัดฉันไม่เลิก
- (ภาษาปาก, สกรรม) ทะเลาะวิวาท
- สองคนนี้กัดกันอยู่เรื่อย
- (ภาษาปาก, สกรรม) พูดว่า, พูดเหน็บแนม[2]
- ครูคนนี้สอนดีแต่ชอบกัดเด็กอยู่เรื่อย
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไขรากศัพท์ 2
แก้ไขคำนาม
แก้ไขกัด
รากศัพท์ 3
แก้ไขคำนาม
แก้ไขกัด
- ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิด Betta splendens Regan ในวงศ์ Osphronemidae ขนาดยาวได้ถึง 6.5 เซนติเมตร ทำรังเป็นหวอดที่ผิวน้ำ ตัวผู้ใหญ่กว่าตัวเมีย มีสีสวยงาม สามารถกางครีบและแผ่นปิดเหงือก เปล่งสีลำตัวให้เข้มขึ้น ในขณะต่อสู้มักกัดกัน จึงเรียกว่า ปลากัด
รากศัพท์ 4
แก้ไขคำนาม
แก้ไขกัด
รากศัพท์ 5
แก้ไขคำนาม
แก้ไขกัด
อ้างอิง
แก้ไข- ↑ ศิขรินทร์ แสงเพชร. "คำยืมภาษามอญในกฎหมายตราสามดวง". ภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย ๒๑๖. ฉบับที่ ๒, ปีที่ ๑, ธันวาคม ๒๕๕๐ - พฤษภาคม ๒๕๕๑.
- ↑ ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม 1 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ธนาเพรส, 2553. หน้า 9.
ภาษาเลอเวือะตะวันตก
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขสืบทอดจากปะหล่องดั้งเดิม *kɤ/at
การออกเสียง
แก้ไข- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /kat/
คำนาม
แก้ไขกัด
ภาษาเลอเวือะตะวันออก
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขสืบทอดจากปะหล่องดั้งเดิม *kɤ/at
การออกเสียง
แก้ไข- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /kat/
คำนาม
แก้ไขกัด