ดูเพิ่ม: , ผ., ผิ, ผี, ผุ, และ ผู่

ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *pʰuːꟲ, จากภาษาจีนยุคกลาง (MC pjuX)[1]; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຜູ້ (ผู้), ภาษาไทลื้อ ᦕᦴᧉ (ผู้), ภาษาไทดำ ꪠꪴ꫁ (ฝุ้), ภาษาไทใหญ่ ၽူႈ (ผู้), ภาษาไทใต้คง ᥚᥧᥲ (ผู้), ภาษาคำตี้ ၸူႛ, ภาษาอาหม 𑜇𑜥 (ผู), ภาษาปักษ์ใต้ พู้, ภาษาจ้วง boux

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์พู่
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงpûu
ราชบัณฑิตยสภาphu
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/pʰuː˥˩/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงพู่
ภู่

คำนาม

แก้ไข

ผู้

  1. คำใช้แทนคำว่า คนหรือสิ่งที่ถือเสมือนคน
  2. คำใช้ประกอบคำกริยาหรือคำวิเศษณ์ใช้เป็นนาม เช่น ผู้โดยสาร ผู้ร้าย

ลูกคำ

แก้ไข

คำคุณศัพท์

แก้ไข

ผู้

  1. เป็นเพศชาย

ลูกคำ

แก้ไข

คำแปลภาษาอื่น

แก้ไข

คำสันธาน

แก้ไข

ผู้

  1. ซึ่ง

อ้างอิง

แก้ไข
  1. Pittayaporn, Pittayawat (2014), chapter Layers of Chinese Loanwords in Proto-Southwestern Tai as Evidence for the Dating of the Spread of Southwestern Tai, in MANUSYA: Journal of Humanities, volume 20 (special issue), Bangkok: Chulalongkorn University, ISSN 0859-9920, pages 47–68.
  NODES