สาขา
ภาษาไทย
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขจากบาลี สาขา (“กิ่งไม้”), จากสันสกฤต शाखा (ศาขา, “กิ่งไม้”). ร่วมเชื้อสายกับเขมร សាខា (สาขา), ลาว ສາຂາ (สาขา).
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | สา-ขา | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sǎa-kǎa |
ราชบัณฑิตยสภา | sa-kha | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /saː˩˩˦.kʰaː˩˩˦/(สัมผัส) |
คำนาม
แก้ไขสาขา
- กิ่งไม้
- กิ่งก้าน เช่น ต้นจามจุรีมีสาขามาก
- แขนง
- ส่วนย่อย
- ส่วนรอง, เช่น วิทยาศาสตร์กายภาพเป็นสาขาหนึ่งของวิชาวิทยาศาสตร์ ธนาคารออมสินสาขาหน้าพระลาน. (ป.; ส. ศาขา).[1]
- ใช้เป็นคำกลางๆ กับสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
- คือสิ่งที่เป็นหลักหรือเป็นใหญ่แผ่ขยายออกจากสิ่งนั้นเอง เช่น ร้านค้าหนึ่งขยายกิจการอีก ๓ สาขาในต่างจังหวัด, แม่น้ำโขงไหลแรงจนแยกออกเป็นหลายสาขา บริเวณปากอ่าว เป็นต้น
คำที่ตรงกันข้ามคือ บริวาร
อ้างอิง
แก้ไข- ↑ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒