ไถ
ภาษาไทย
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | ไถ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | tǎi |
ราชบัณฑิตยสภา | thai | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /tʰaj˩˩˦/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
แก้ไขสืบทอดจากไทดั้งเดิม *crwajᴬ; ร่วมเชื้อสายกับอีสาน ไถ, ลาว ໄຖ (ไถ), คำเมือง ᨳᩱ (ไถ), เขิน ᨳᩱ (ไถ), ไทลื้อ ᦺᦏ (ไถ), ไทขาว ꪼꪖ, ไทใหญ่ ထႆ (ไถ), อาหม 𑜌𑜩 (ถย์), จ้วง cae, จ้วงแบบจั่วเจียง tae (ไถ), แสก ไถ่
คำนาม
แก้ไขไถ
- เครื่องมือทำนาทำไร่ชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยคันไถ หางยาม ผาล หัวหมู ใช้ควายหรือวัวเป็นต้นลากไปเพื่อฟื้นดิน
คำกริยา
แก้ไขไถ (คำอาการนาม การไถ)
- (สกรรม) เอาไถเทียมด้วยควายหรือวัวเป็นต้นลากไปเพื่อฟื้นดิน
- เคลื่อนไปไถลไป
- นั่งไม้ลื่นไถลงมา
- ไสไป
- ไถรถตัดหญ้าไปรอบสนาม
- (ภาษาปาก) ขอร้องแกมบังคับ เพื่อเอาทรัพย์สินเป็นต้นอย่างไม่ถูกต้อง
- รีดไถ
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไขใช้ไถเพื่อฟื้นดิน
รากศัพท์ 2
แก้ไขจากลักษณะของหมู่ดาวฤกษ์ที่เรียงตัวกันคล้ายรูปคันไถ
คำวิสามานยนาม
แก้ไขไถ
ภาษาคำเมือง
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไข- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /tʰaj˨˦/
คำนาม
แก้ไขไถ
- อีกรูปหนึ่งของ ᨳᩱ (ไถ)